วันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 7


บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 7

วัน พฤหัสบดี  ที่  2  ตุลาคม  พ.ศ. 2557



 Activities " หมีน้อยไต่เชือก" 



 

  •  เเกนกระดาษทิชชู
  • กระดาษ ( Paper )
  • กรรไกร ( Scissors )
  • ไหมพรม ( Yarn )
  • กาว ( Glue )
  • ที่เจาะกระดาษ
ขั้นตอนการทำ 



 How to play 



นำเชือกมาคล้องคอแล้วดึงเชือกขึ้นลง 


Science articles



  1. สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทยาศาสตร์จาก เป็ด และไก่(Duck And Chicken) โดยการเล่านิทาน เรื่อง หนูไก่คนเก่ง และ การตั้งคำถามเชิงวิทยาศาสตร์
  2. จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ สนุกคิดกับของเล่นวิทย์ จัดกิจกรรมให้เด็กประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์จากวัสดุเหลือใช้
  3. ส่งเสริมกระบวนการคิดสำหรับเด็ก โดยส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
  4. สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ ( Natural phenomena )   ซึ่งมีเเนวคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อยู่ 5 ประการ " 5 Craig's Basic Concepts "
  5. สอนลูกเรื่องอากาศ ( Teaching Children about weather ) ซึ่งมีความสำคัญ และจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกชีวิต  เพราะอากาศคือก๊าซออกซิเจนที่มีอยู่รอบๆตัวเรา
** ลมคืออากาศที่เคลื่อนที่  แต่อากาศเคลื่อนที่ไปมาเราเรียกว่า " ลม "  
** อากาศมีตัวตน แต่เรามองไม่เห็น อากาศมีเเรงดัน

 Teaching 
  • ทักษะการใช้คำถามปลายเปิดให้เด็กกระตุ้นความคิด
  • การประดิษฐ์สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์
  • การส่งเสริมให้เด็กใช้ความคิดและจินตนาการอย่างสร้างสรรค์
  • การเรียนรู้เรื่องบทความที่มีเนื้อหาสาระที่หลากหลายเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
  • การใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อการเรียนรู้
  • การเขียนเเผนการสอน
  • การร่วมมือกันในการทำงานหรือทำกิจกรรม
  • การพูดอภิปรายกันในชั้นเรียน
Application 
  • การนำประดิษฐ์สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัย
  • ใช้ชิ้นงานสื่อเป็นตัวกระตุ้นให้เด็กได้ใช้ทักษะความคิดสร้างสรรค์ออกมา
  • จัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้ทดลองและลงมือกระทำด้วยตัวเอง เช่น การเคลื่อนที่ของอากาศ หรือเเรงดันของอากาศ
  • จัดการเรียนการสอนให้เด็กเรียนเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่เราเอาความรู้เนื้อหามาจากบทความก็ได้
  • สอนเด็กในเรื่องของสัตว์ต่างๆ อาจจะเเบ่งจำเเนกเป็น สัตว์น้ำ สัตว์ปีก เช่น เป็ด ไก่ เป็นต้น
 Evaluation 
  • ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน และตั้งใจร่วมกิจกรรมการประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์ที่เราสามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคต
  • ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน และให้ความร่วมมือกันในการทำกิจกรรม มีน้ำใจช่วยเหลือกัน และพยายามช่วยกันคิดวิเคราะห์หาคำตอบเนื้อหาที่อาจารย์ถามในชั้นเรียน
  • ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคที่หลากหลาย เช่น การประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์ เเนะเเนวการเขียนเเผนการสอน และการให้ความรู้ในเรื่องของการออกไปฝึกสอน 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น