บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 12
คนที่ 1 >> วิจัยเรื่องการส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสังเกตสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น
2. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เเบบประเมินทักษะการสังเกตการเล่นเกม5เกม
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
3. เกมภาพตัดต่อ
4. เกมสังเกตรายละเอียดของภาพ
สรุปผลการวิจัย
การส่งเสริมทักษะการสังเกตของนักเรียนชั้นอนุบาล3 โดยการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา พบว่าเด็กนักเรียนอนุบาล 3 ทั้ง 36 คน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกม การศึกษามีทักษะการสังเกตสูงขึ้น
คนที่ 2 >> วิจัยเรื่องทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. เเผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
2. แบบทดลองทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
สรุปผลการวิจัย
กิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากการเล่านิทาน ซึ่งนิทานเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เมื่อฟังนิทานจบเด็กได้ประดิษฐ์ ทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง
คนที่ 3>> วิจัยเรื่องการศึกษาผลของรูปเเบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด๋กปฐมวัย
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัย
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองเเละหลังทดลอง
สรุปผลการวิจัย
วิจัยการศึกษาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด๋กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยมีความมุ่งหมายคือ เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการเรียนรู้และเพื่อเปรียบเทียบทักษะทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองเเละหลังทดลอง ซึ่งเป็นวิจัยเชิงทดลองจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนระดับปฐมวัย เป็นเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นก็ทำการทดสอบด้วยเเบบทดสอบจนครบ 8 สัปดาห์ เมื่อเสณ้จการทดลองก็นำเเบบทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้งเเล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ
คนที่ 4 >>วิจัยเรื่องผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐาน
ทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
คนที่6 >>วิจัยเรื่องการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ซึ่งทําการศึกษากับกลุมตัวอยางที่เปนเด็กปฐมวัย โดยผูวิจัยสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยาง 1 สัปดาหกอนการทดลอง จากนั้นทําการทดสอบเพื่อวัดการคิดวิจารณญาณกอนการทดลอง (Pre-test) โดยใชแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยสรางขึ้น กับกลุมตัวอยาง และดําเนินการทดลองดวยตนเอง จํานวน 8 สัปดาหเมื่อดําเนินการทดลองครบ 8 สัปดาห นําแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้ง และนําขอมูลที่ไดจาก การทดสอบไปทําการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
คนที่ 7 >>วิจัยเรื่องการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัย
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองเเละหลังทดลอง
สรุปผลการวิจัย
วิจัยการศึกษาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด๋กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยมีความมุ่งหมายคือ เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการเรียนรู้และเพื่อเปรียบเทียบทักษะทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองเเละหลังทดลอง ซึ่งเป็นวิจัยเชิงทดลองจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนระดับปฐมวัย เป็นเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นก็ทำการทดสอบด้วยเเบบทดสอบจนครบ 8 สัปดาห์ เมื่อเสณ้จการทดลองก็นำเเบบทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้งเเล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ
คนที่ 4 >>วิจัยเรื่องผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐาน
ทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
ครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2.1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
2.2 แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร
สรุปผลการวิจัย
1. ก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทั้งโดยรวมและจ าแนกรายทักษะ หลังการใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยอยูมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้งโดยรวมและจำแนกรายทักษะอยู่ในระดับมากที่สุด
2. หลังการใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์สูงขึ้นกวากอนใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยางมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
คนที่5 >>วิจัยเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการ
เครื่องที่ใช้ในการวิจัย
1. แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ 40 แผน
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์
- การจำเเนก
- การวัดปริมาณ
- การหามิติสัมพันธ์
- การลงความเห็น
เน้นเปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติทุกขั้นตอน โดยให้เด็กทำแป้งโด แล้วนำมาเล่นตามจินตนาการ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการจัดการเรียนการสอนของจอห์น ดิวอี้
คนที่6 >>วิจัยเรื่องการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ซึ่งทําการศึกษากับกลุมตัวอยางที่เปนเด็กปฐมวัย โดยผูวิจัยสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยาง 1 สัปดาหกอนการทดลอง จากนั้นทําการทดสอบเพื่อวัดการคิดวิจารณญาณกอนการทดลอง (Pre-test) โดยใชแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยสรางขึ้น กับกลุมตัวอยาง และดําเนินการทดลองดวยตนเอง จํานวน 8 สัปดาหเมื่อดําเนินการทดลองครบ 8 สัปดาห นําแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้ง และนําขอมูลที่ไดจาก การทดสอบไปทําการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
คนที่ 7 >>วิจัยเรื่องการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์แบบปกติ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
1.1) แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.2) แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์แบบปกติ
2. แบบทดสอบวัดความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล จำนวน 50 ข้อ แบ่งออกเป็น 5 ชุดได้เเก่ 1) แบบทดสอบด้านการจำเเนก 2)การจัดประเภท 3)อุปมาอุปมัย 4)อนุกรม 5)เเบบทดสอบสรุปความรู้
สรุปผลการวิจัย
เด็กปฐมวััยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับเเบบปกติหลังการทดลองมีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลเเตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
เด็กปฐมวััยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับเเบบปกติหลังการทดลองมีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลเเตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
- การสืบค้นงานวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยตนเอง
- การสรุปผลคิดวิเคาระห์เนื้อหาความรู้ในงานวิจัย
- การถ่ายทอดความรู้เนื้อหาในงานวิจัยจากการสรุปผล แล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
- การใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้นักศึกเกิดความคิดและเกิดความสงสัยอยากรู้อยากเห็นในการจะศึกษาค้นข้อมูลความรู้เพิ่มเติม
- การให้คำเเนะนำในการออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน และคำเเนะนำในเนื้อหาความรู้ของงานวิจัยที่นักศึกษาได้สรุปผล
- การนำความรู้ในงานวิจัยทางวิทยาสตร์ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีความเนื้อหาที่สอดคล้องกับเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสม
- การนำงานวิจัยมาปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะพัฒนาการที่ดีให้กับเด็กปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสอนเด็กในเรื่องธรรมชาติรอบๆตัวที่เราสามารถนำมาบูรณาการกับวิชาต่างๆได้
- การนำงานวิจัยปรับใช้ให้ง่ายขึ้นต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
- การนำวิจัยมาเป็นเครื่องมือสื่อการสอนและจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้กับเด็ก
Evaluation
- ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายถูกระเบียบ มีความพร้อมในการเตรียมข้อมูลมานำเสนอหน้าชั้นเรียน แต่ข้อมูลที่สรุปผลมาอาจไม่ครอบคลุมทั้งหมด เเต่ก็ทำให้เพื่อนๆเข้าใจเนื้อหางานวิจัยที่ดิฉันไดำนำเสนอ น้ำเสียงการพูดอาจมีสะดุดบางเนื่องจากรู้สึกตื่นเต้น ได้จดบันทึกความรู้เนื้อหาของงานวิจัยที่เพื่อนได้นำเสนอและคำเเนะนำที่ได้รับจากอาจารย์ ก็จะนำไปปรับปรุงเเก้ไขให้ดีกว่านี้ในครั้งต่อๆไป
- ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆเข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังความรู้ต่างๆจากงานวิจัยของเพื่อนๆที่ได้สรุปข้อมูลที่สำคัญๆออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนให้นักศึกษาทุกคนได้ฟังเเละเข้าใจ เพื่อให้เกิดเนื้อหาความรู้ที่ครบถ้วน
- ประเมินอาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เเต่งกายสุภาพ อาจารย์ให้คำเเนะนำ และวิธีการพูดนำเสนอหน้าชั้นเรียน และอาจารย์ก็ฝึกให้นักศึกษาเรียนรู้หาวิจัยด้วยตนเอง ทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลายจากการอ่านวิจัยและสรุปความรู้ในงานวิจัยของตนเองและของเพื่อนๆ อาจารย์ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้กระตุ้นให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์และได้สรุปผลความรู้ต่างๆจากสิ่งที่เรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น